jos55 instaslot88 Pusat Togel Online วิถีทางโบราณของญี่ปุนที่จะรักษาโลก - INEWHORIZON

INEWHORIZON

ขอบฟ้าใหม่

วิถีทางโบราณของญี่ปุนที่จะรักษาโลก

วิถีทางโบราณของญี่ปุนที่จะรักษาโลก

เรามีถ้อยคำหนึ่งภายในญี่ปุนที่ได้รับแรงฉุดตลอดสองทศวรรษที่แล้ว
ด้วยนักสิ่งแวดล้อมทั่วโลก ถ้อยคำนี้คือ “มอตไทนาย” ถ้อยคำแปลได้อย่างง่ายว่า เสียเปล่า จิตวิญญานมอตไทนายสามารถนำวิถีทางไปสู่ความยั่งยืน เมื่อเราคิดถึงความยั่งยืน บุคคลมีชีวิตอยู่ภายในญี่ปุ่นสามารถมองเห็นสิ่งนี้แสดงภายในชีวิตประจำวัน
ใครที่สอน ณ โรงเรียนอนุบาลหรือประถมจะรู้ว่าเด็กถูกสอนให้ทานอาหารทุกอย่างบนจานของพวกเขา เรามักจะคิดถีงความพยายามที่ใหญ่โตเกี่ยวพันต่อสิ่งเหมือนเช่นการผลิตและการรีไซเคิล การกระทำของบุคคลที่เล็กลงสามารถสร้่างความแตกต่างได้ด้วย
จิตวิญญานมอตไทนายฝังรากลึกภายในวัฒนธรรมญี่ปุ่นเป็นศตวรรษ
ดังนั้นเราสามารถกล่าวได้ว่าแนวคิดของมันเก่าแก่เหมือนจิตวิญญานซามูไร โตเกียว โอลิมปิคสีเขียวเป็นโอกาสที่จะนำแนวคิดมอตไทนายมาสู่โลก มอทไทนายได้อยู่ข้างในกลยุทธ์การหมุนเวียนของโตเกียว โอลิมปิค
มันไม่น่าประหลาดใจที่โอลิมปิค เกมส์ ภายในโตเกียว ได้ถูกใช้ส่องสปอร์ตไลท์บนความยั่งยืน
มอตไทนาย ญี่ปุ่น ได้มุ่งหมายทำให้ 3 อาร์ เป็นฐานของโตเกียว 2020 โอลิมปิค และทะเยอทะยาน ถ้อยคำมอตไทนายเคียงข้างการใช้พลังงานทดแทน การใช้ประโยชน์สนามกีฬาและระบบการขนส่งที่มีอยู่ และเเผนการลบล้างคาร์บอน เรามีสัญลักษณ์มองเห็นสองอย่างของการแสดง แท่นพิธีได้ถูกสร้างจากพลาสติครีไซเคิลรวบรวมจากทั่วญี่ปุ่น ในขณะที่เหรียญ 5000 อันได้ถูกสร้างจากโลหะรีไซเคิล 100%
มอตไทนายมีความหมายลึกกว่าเพียงแค่เสียใจต่อการสูญเสีย มันเป็น
เเนวคิดที่กระตุ้นบุคคลมีชีวิตอยู่อย่างยั่งยืน ด้วยไม่สิ้นเปลืองทรัพยากร
และชื่นชมคุณค่าอะไรที่พวกเขามี มอตไทนายได้ฝังรากลึกภายในวัฒนธรรมญี่ปุ่น และมันสะท้อนภายในด้านที่หลากหลายของชีวิตประจำวัน
มันเป็นธรรมที่จะใช้ทุกส่วนของผักหรือผลไม้ รวมทั้งเปลือกและเมล็ด
ทำนองเดียวกัน มันเป็นธรรมดาที่จะซ่อมแซมและใช้ซ้ำวัตถุ ไม่ใช่โยนมัน
ทิ้งและซื้อใหม่ มันเป็นหลักฐานภายในความนิยมแพร่หลายของบริการ
เช่น คินสิงึ ศิลปของการซ่อมแซม
แนวคิดของมอตไทนาย ได้ขยายไปสู่สิ่งแวดล้อม ตรงที่มันสำคัญที่จะ
ชื่นชมคุณค่าของธรรมชาติ และคุ้มครองมันเพื่อรุ่นในอนาคต มันเป็น
หลักฐานภายในการปฏิบัติรีไซเคิลของญี่ปุ่น ภายในสิ่งแวดล้อมของญี่ปุ่น มอตไทนายอ้างถึง ลด ใช้ซ้ำ รีไซเคิล และเคารพ ภายในสิ่งแวดล้อมโลก
ถ้อยคำมอตไทนายได้ถูกใช้ครั้งแรกโดยวังการี มาไท นักสิ่งเเวดล้อม
ชาวเคนยา


เเนวคิดมอตไทนายรวมเอาความคิดของการเคารพวัตถุทุกอย่าง และไม่
สิ้นเปลืองมัน พร้อมด้วนการรับรู้ตามธรรมชาติของคุณค่าของมัน ยุค
เอโดะ ภายในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นถูกมองเป็นสังคมรับอิทธิพลของมอต
ไทนายสูง เช่น ชาวเอโดะไม่ได้ทิ้งวัตถุประจำวันที่ชำรุดเหมือนเช่นร่ม
แต่พวกเขาได้ขายมันแก่นักสะสม เนื่องจากร่มสมัยเดิททำโดยการติด
กระดาษน้ำมันกับก้านไม้ไผ่ ช่างฝีมือดึงกระดาษออกอย่างระมัดระวัง
โครงสร้่างไม้ไผ่ได้ถูกรีไซเคิล และกระดาษน้ำมันได้ถูกนำไปใช้เพื่อ
ความต้องการอื่น
การฝังรากลึกภายในวัฒนธรรมญี่ปุ่น แม้แต่เด็กได้ถูกสอนแนวคิดและ
การปฏิบัติของมอตไทนายผ่านความเป็นเด็กของพวกเขา มันมักจะใช้รูปแบบจากวิถีทางที่พวกเขากินอาหารด้วยความเคารพและไม่เหลือ ต่อชาวญี่ปุ่น การแสดงออกมอตไทนายถ่ายความคิดว่า วัตถุนี้ยังคงมีคุณค่า
ดังนั้นมันดีเกินไปที่จะสูญเสีย
ต้นกำเนิดของมอตไทนายมาจากแนวคิดศาสนาพุทธโบราณ เสียใจต่อของเสียหรือใช้ผิดของวัตถุศักดิิ์สิทธิ์หรือเคารพ เช่น วัตถุทางศาสนา มันได้เกี่ยวนพันกับจิตวิญญานชินโตญี่ปุ่นด้วย เชื่อว่าวัตถุทุกอย่างมีวิญญาน ไม่ว่ามันต่ำต้อยอย่างไร มันจะศักดิ์สิทธิ์ มอตไทนายเป็นปรัชญาศาสนาพุทธโบราณฝังรากลึกภายในวัฒนธรรมญี่ปุ่น เป็นศตวรรษ เคารพและอย่าสูญเสียทรัพยากร และใช้มันด้วยความรู้สึกกตัญญู
ตลอดไม่กี่ปีที่ผ่านมา ถ้อยคำญี่ปุ่น มอตไทนายได้กลายเป็นคุ้นเคยต่อ
บุคคลบางคนภายในประเทศอื่น ภายในญี่ปุ่น มอตไทนายถูกใช้ภายในการพูดคุยทุกวัน แสดงความเสียใจ เมื่อบางสิ่งบางอย่างสามารถยัง
คงถูกใช้ไม่ได้ใช้ หรือเมื่อบางสิ่งบางอย่างถูกโยนทิ้ง หรือมิฉะนั้นเป็น
ของเสีย


ความสนใจระหว่่างประเทศต่อมอตไทนายได้ถูกกระตุ้นจากการไปเยี่ยม
ญี่ปุนเมื่อ ค.ศ 2005 โดย วังการี มาไท นักเคลื่อนไหวสิ่งแวดล้อมชาวเคนยา เธอประทับใจอย่างมากเมื่อได้ยินเกี่ยวกับมอตไทนาย และได้ตัดสินใจแพร่กระจายถ้อยคำไปทั่วโลก เธอรู้สึกว่าถ้อยคำเดียวนี้แสดงแนวคิดพื้นฐานของการเคลื่อนไหวการรักษาสิ่งแวดล้อม : ลด ใช้ซ้ำ และ รีไซเคิล
การเจริญเติบโตภายในญี่ปุ่น เราถูกบอกอยู่เสมอกินทุกสิ่งทุกอย่างบน
จาน และไม่แม้แต่ทิ้งเม็ดข้าว ถ้าเรามีบางสิ่งบางอย่างอยู่บนจานอาหาร
ครอบครัวของเราจะกล่าวว่า กินมันเสีย เพราะว่ามิฉะนั้นมันเป็นมอตไท นาย ถ้อยคำญี่ปุน มอตไทนาย ได้ถูกใช้ภายในหลายประเทศทั่วโลกเป็นภาษาสากล
ถ้าเราดูพจนานุกรมมอตไทนาย จะหมายถึงของเสีย หรือน่าเสียดาย แต่กระนั้นมอตไทนายมีความหลายอย่าง นักสิ่งแวดล้อมญี่ปุนได้ใช้ถ้อยคำ
กระตุ้นบุคคล ลด ใช้ซ้ำ และรีไซเคิล และนักสิ่งแวดล้อมเคนยา วังการี
มาไท ได้ใช้ถ้อยคำ ณ สหประชาชาติเป็นคำขวัญส่งเสริมการคุ้มครอง
สิ่งเเวดล้อม
วังการรี มาไท ได้เรียนรู้แนวคิดของมอตไทนายจากญี่ปุ่น ความหมาย
อย่างหนึ่งภายในญี่ปุ่นคือ ความเสียดาย แต่มันได้ยึดด้วยถ้อยคำ
เดียวด้วย 3 อาร์ นักสิ่งแวดล้อมได้รณรงค์มาหลายปี : ลด ใช้ซ้ำ
และรีไซเคิล ฉันพยายามทำให้มอตไทนาบเป็นการรณรงค์โลก การ
เพิ่มอาร์อีกตัวหนึ่ง เสนอแนะโดย เคลาส์ ทอพเฟอร์ หัวหน้าโครงการ
สิ่งเเวดล้อมยูเอ็น : ซ่อมแซม ทรัพยากรตรงที่จำเป็น
เราสามารถปฏิบัติมอตไทนายภายในประเทศที่ร่ำรวย ภายในตรงที่
การบริโภคเกินไปรุนแรง และเราสามารถทำมันภายในพื้นที่ตรงที่การทำลายสิ่งแวดล้อมทำให้คนจนยากจนลง และระบบนิเวศที่พวกเขาพึ่งพาเสื่อมลงเลยพ้นจากซ่อมแซม
ภายในกรณีของฉัน วังการี มาไท กล่าวว่า มอตไทนายหมายถึงการปลูกต้นไม้อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในขณะนี้ฝนตกยาวได้มาสู่เคนยาแล้ว 30 ปีที่แล้ว ฉันได้ปลูกต้นไม้เจ็ดต้น นำไปสู่การสร้างของกรีน เบลท์ มูฟเม้นต์ นับแต่นั้นมา ผู้หญิงได้ปลูกต้นไม้มากกว่า 30 ล้านต้นทั่วเคนยา และเราได้ร่วมวิถีทางของเรากับหลายประเทศอื่นภายใน
อัฟริกา
วังการี มาไท แสดงตราสินค้าทีเชิร์ตประดับด้วยถ้อยคำ มอตไทนาย อธิบายความหมายของถ้อยคำมอทไทนาย เป็น 4 อาร์ ของ ลด ใช้ซ้ำ รีไซเคิล และซ่อมแซม เราทุคนควรจะพยายามใช้ทรัพยากรที่จำกัด
อย่างมีประสิทธิภาพ และร่วมมันอย่างยุติธรรม ถ้าเราต้องการจะหลีกเลี่ยงสงครามเกิดขึ้นจากความขัดเเย้งต่อทรัพยากรธรรมชาติ
วังการี มาไท ก่อตั้ง กรีน เบลท์ มูฟเม้นท์ องค์การสิ่งเเวดล้อม มุ่งที่การ
ปลูกต้นไม้ การรักษาสิ่งแวดล้อม และสิทธิผู้หญิง เธอเขียนหนังสือสี่เล่ม
และชีวประวัติของเธอ “Unbowed : A Memoir” 2006 เป็นการอ่านเปิดตา
และเเรงบันดาลต่อบุคคลวัยหนุ่มสาว การนำเสนอความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง
ต่อวิสัยทัศน์และค่านิยมของเธอ และความท้าทายที่เธอได้เผชิญและชนะ
ตลอดชีวิตของเธอ


หนังสือเล่มแรกของเธอ The Green Belt Movement : Sharing the
Approach and Experience ได้ให้รายละเอียดประวัติขององค์การ
หนังสืออีกเล่ม The Challenge for Africa วิจารณ์ความเป็นผู้นำของ
อัฟริกา และกระตุ้นชาวอัฟริกันพยายามแก้ปัญหาของพวกเขาไม่ต้อง
มีความช่วยเหลือทางตะวันตก
กรีน เบลท์ มูฟท์เม้นต์ได้ช่วยยกมอตไทนายจากปรากฏการณ์ญี่ปุ่นท้องที่ ไปสู่สถานภาพโลกเหมือนเช่นการสนับสนุนของเธอต่อเเนวคิดเมื่อ ค.ศ 2009 ภายในการประชุมสหประชาขาติของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เมื่อ ค.ศ 2004 เธอกลายเป็นผู้หญิงอัฟริกันคนแรก ได้รางวัลโนเบิลสาขาสันติภาพ
ชาวญี่ปุน ได้มรดกจากบรรพบุรุษของพวกเขา จิตวิญญานของการใช้ทรัพยากร วัตถุ เงิน และพลังงาน อย่างรอบคอบและไม่สูญเสียมัน เพราะว่าชาวญี่ปุ่นได้ยินคำพูด มอตไทนาย บ่อยครั้งเหลือเกินตั้งแต่เด็ก พวกเขาระมัดระวังตามธรรมชาติเกี่ยวกับไม่สูญเสียทรัพยากร
ถ้อยคำมอตไทนาย เป็นภาษาญี่ปุน ได้ถูกใช้แสดงความรู้สึกของความเสียใจ เมื่อบางสิ่งบางอย่างทิ้งเป็นของเสีย โดยไม่ได้รับคุณค่าของมัน ไม่นานมานี้ถ้อยคำได้กลายเป็นคำสำคัญภายในการต่อสู้กับปัญหาโลกต่อทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
ชาวญี่ปุ่น เชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างภายในโลกมีจิตวิญญานและชีวิตตั้งแต่
สมัยโบราณ ภายในยุคของมูโรมาชิ ทสึคูโมกามิ ได้ถูกสร้้างเป็นวิถีทาง
สอนบุคคลดูแลอย่างดีเครื่องมือและสัตว์ ทสึคูโมกามิ เป็นพระเจ้าและจิต
วิญญานอยู่ข้างในเครื่องมือและวัตถุได้ใช้มายาวนาน
ต้นกำเนิดของถ้อยคำ 3 อาร์ : ลด ใช้ซ้ำ รีไซเคิล มักจะถกเถียงกัน แต่มันสามารถย้อนหลังไปยังการเคลื่อนไหวของการกลายเป็นการตระหนักทางสิ่งเเวดล้อมเมื่อ ค.ศ 1970 นี่เป็นช่วงเวลาของสงครามเวียตนาม เมื่อชาวอเมริกันเรียกร้องว่ามลภาวะอากาศ ของเสีย และคุณภาพน้ำ ต้องให้ความสนใจ ด้วยความเข้าใจส่วนใหญ่ 3 อาร์ เป็นการริเริ่มของรัฐบาลส่งเสริมการปฏิบัติเป็นมิตรทางสิ่งแวดล้อม
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจภายในอเมริกาเมื่อ ค.ศ 1850 นำไปสู่การเพิ่มขึ้นอย่างมากของจำนวนขยะสร้างโดยชาวอเมริกัน เนื่องจากการใช้ผลิตภัณฑ์ครั้งเดียว มันไม่นานจนบุคคลเริ่มต้นรับรู้ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมของทัศนคติการโยนทิ้งต่อระบบนิเวศของโลกสำคัญอย่างไร
ภายในการตอบสนองตลอด ค.ศ 1970 กฏหมายอย่างได้ถูกบัญญัติภายในอเมริกา การส่งเสริมความพยายามการรักษา และเพิ่มความตระหนักทางระบบนิเวศต่อประชาชน ดังนั้น 3 อาร์ ได้เกิดขึ้นภายในอเมริกา และตามมาระหว่างประเทศ


บรรดาแฟนของ เกรต้า ธันเบิรก นักสิ่งเเวดล้อมชาวสดีเดน ต่างผิดหวัง
ที่เธอไม่ชนะรางวัลโนเบิลสันติภาพ เธอได้ถูกเสนอชื่อเพื่อรางวัลโนเบิลสันติภาพ 2019 แทนการมอบรางวัลโนเบิลแก่เธอ คณะกรรมการโนเบิล
นอร์เวย์ได้ให้รางวัลโนเบิลแก่นายกรัฐมนตรีเอธิโอเปีย อบี อาห์เหม็ด ด้วยกายกย่องต่อความพยายามของเขาที่จะบรรลุสันติภาพ และความร่วมมือระหว่างประเทศ ความพ่ายเเพ้ของเธอเป็นความประหลาดใจต่อบุคคลที่มองว่าเธอสมควรได้รับเกียรติยศภายหลังกลายเป็นชื่อครอบครัว
วังการี มาไท ได้กล่าวว่า เมื่อปีที่แล้วเกรต้า ธันเบิรก นักเคลื่อนไหวการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศวัยรุ่นชาวสวีเดน ได้เริ่มต้นโจมตีของโรงเรียนต่อภูมิอากาศภายนอกรัฐสภาสวีเดน เนื่องจากบางสิ่งบางอย่างต้องทำ เธอกล่าว ในขณะนี้เธอมีนักเรียนหลายล้านคนทั่วโลกร่วมกับเธอโจมตีและประท้วงที่จะต่อสู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
เกรต้า ธันเบิรก กำลังแล่นเรือยอร์ชคาร์บอนศูนย์ มาลิเซียทู จากอังกฤษไปอเมริกา ด้วยพ่อและลูกเรือข้ามแอตแลนติค เพื่อเข้าร่วมการประชุม
สุดยอดภูมิกาศยูเอ็นภายในนิวยอร์ค เธอเลือกวิธีการเดินทางนี้
เพราะว่าเธอต้องการแสดงการเดินทางกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร
เกรต้า ธันเบิรก ไม่ยอมเดินทางโดยครื่องบินหรือเรือสำราญ เพราะว่ามันเป็นตัวสร้างมลภาวะสูง เราต้องการผู้นำเหมือนเธอวันนี้ และยืนขึ้นเพื่อะไรที่พวกเขาเชื่อ
การข้ามแอตเเลนติคสองสัปดาห์ระหว่างฤดูเฮอริเคนภายในเรือยอร์ช
60 ฟุต ถูกสร้างเพื่อความท้าทายทั่วโลก การไม่ยอมนั่งเครื่องบินเนื่องจากการระเหยของเก้าซเรือนกระจกสูงจากเดินทางทางอากาศ เรือยอร์ชติดตั้งแผงโซลาและกังหันใต้น้ำที่สร้างกระแสไฟฟ้า ความมุ่งหมายคือการเดินทางคาร์บอนศูนย์ เรือยอร์ชลำนี้ของเธอเป็นเจ้าของโดยนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ชาวเยอรมัน เกอร์ฮาร์ด เซนฟ์ต์
เกรต้า ธันเบิรก กล่าวว่า แน่นอนเรามีบุคคลหลายคนไม่เข้าใจและยอม
รับวิทยาศาสตร์ ฉันจะะเพียงแค่ทำอะไรที่ฉันทำอยู่เสมอ อย่่าสนใจพวก
เขา และเพียงแค่บอกวิทยาศาสตร์อย่างที่เป็นอยู่
เกรต้า ธันเบิรกและนักเคลื่อนไหวอื่นได้ประท้วงรัฐมนตรีรัฐบาลนอร์เวย์หลายคนต่อการใช้กังหันลมที่มักจะถูกมองเป็นเครื่องมือที่สำคัญของการต่อสู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศแต่กังหนลมสองตัวได้ถูกสร้างบนที่ดินประเพณีถูกใช้โดยชาวซามิต้อนกวางเรนเดียร์ สัตว์ที่ได้ให้พวกเขามายาวนานด้วยอาหาร เสื้อผ้า และแรงงาน
ในชณะที่กังหันลมค้ำจุนความทะเยอทะยานสีเขียวของนอร์เวย์ด้วยการให้พลังงานแก่บ้านจำนวนมาก พวกเขาได้ใช้ต้นทุนที่สูงเกินไปด้วยการรบกวนชีวิตประจำวันของชาวซามิ และทำให้สัตว์ตกใจที่พวกเขาต้องพึ่งพาอาศัยอยู่ เพื่อการดำรงชีวิตของพวกเขา กังหันลมได้ขัดขวางสิทธิของชาวบ้านซามิที่จะเลี้ยงกวางเรนเดียร์ภายในอาร์กติก นอร์เวย์
นักเคลื่อนไหวได้พูดแทนชุมชนซามิของนอร์เวย์เรียกร้องให้รื้อถอน
กังหันลม กล่าวหานอร์เวย์ของการวางกำไรเหนือสิทธิชนพื้นเมือง นัก
เคลื่อนไหวได้นั่งเคียงบ่าเคียงไหล่เริ่มต้นการประท้วงยึดทางเข้าไปสู่
กระทรวงพลังงานภายในออสโล พวกเขาได้ถือธงซามิ และโปสเตอร์
อ่านว่า” คืนที่ดินกลับ” นักเคลื่อนไหวหลายคนสวมเสื้อผ้าสีสดใสประ
เพณีของชาวซามิ และกางเต้นท์ใช้โดยชาวอาร์กติก
เมื่อ ค.ศ 2021 ศาลสูงของนอร์เวย์ ได้ตัดสินว่าการก่อสร้างกังหันลมละเมิดสิทธิของชาวซามิ ใช้ที่ดินเลี้ยงกวางเรนเดียร์นานศตวรรษ แต่กระนั้นกังหันยังคงใช้งานอยู่ มันไร้สาระที่รัฐบาลนอร์เวย์ ได้เลือกที่จะละเลยการตัดสิน เกรต้า ธันเบิรก กล่าว
ชาวซามิ กลุ่มชาวพื้นเมืองที่รับรู้ภายในสหภาพยุโรป กล่าวว่า ประเพณี
เก่าแก่เป็นศตวรรษของการเลี้ยงกวางเรนเดียร์ของพวกเขาได้รับอันตราย
จากกังหันลมภายในภายในพื้นที่เยิอกแข็ง นอร์เวย์กลาง การก่อสร้างได้
ขโมยที่ดินเล็มหญ้าของกวางเรนเดียร์ กวางเรนเดียร์ ได้ถูกกระทบจาก
โครงสร้างพื้นฐานรอบกังหันลมด้วย เช่น ถนน สิทธิชนพื้นเมือง และสิทธิมนุษย์ ต้องจับมือกันกับการคุ้มครองภูมิอากาศ และการกระทำของ
ภูมิอากาศ มันไม่สามารถเกิดขึ้นด้วยผลร้ายกับบุคคบางคน เกรต้า
ธันเบิรก กล่าว
ก่อนเกรต้า ธันเบิรก เรามีวังการี มาไท เธอเป็นผู้ก่อตั้งขององค์การ
สิ่งแวดล้อม กรีน เบลท์ มูฟเม้นท์ ตรงที่ผู้หญิงได้ถูกกระตุ้นปลูกต้นไม้
ภายในชุมชนของพวกเธอ และบนพื้นดินของพวกเธอ เธอเป็นผู้หญิง
ชาวอัฟริกันคนแรกได้รางวัลโนเบิลสาขาสันติภาพเมื่อ ค.ศ 2004
วังการี มาไท ได้เปลี่ยนแปลงวิถีทางที่โลกคิดเกี่ยวกับธรรมชาติ นิเวศ
วิทยา เสรีภาพ และประชาธิปไตย ความพยายามอย่างรุนเเรงที่บันดาล
ใจมาจนถึงวันนี้


กรีน เบลท์ มูฟเม้นต์ เป็นแรงขับเคลื่อนโดยผู้หญิงอย่างแท้จริง การ
ปลูกต้นไม้ได้กลายเป็นการเลือกตามธรรมชาติ จัดการความต้องการ
พื้นฐานเริ่มแรกระบุโดยผู้หญิง วังการี มาไท กล่าว เราสามารถได้ตัวกระตุ้นต่อกรีน เบลท์ มูฟท์เม้นต์ จากการปลูกต้นไม้กำจัดอุปสรรคบางอย่างที่ผู้หญิงอัฟริกันเผชิญอยู่ โดยเฉพาะการได้อาหารและฟืนมา
นอกจากนี้ เนื่องจากการปลูกต้นไม้ภายในช่วงเวลาที่เหมาะสม เรียบง่าย และรับประกันผลลัพธ์ที่บรรลุความสำเร็จ วังการี มาไท สามารถยึดความสนใจและความผูกพันของผู้หญิงท้องที่ได้
วังการี มาไท เข้าใจว่าแนวคิดของมอตไทนาย ไม่ได้เชื่อมโยงกับ 3 อาร์
ลด ใช้ซ้ำ และรีไซเคิล เท่านั้น แต่เกี่ยวกับการเคารพวัตถุที่เรากินและวัตถุที่เราใช้ด้วย วัตถุเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวันของเรา วัตถุควรจะถูกใช้ด้วยความเคารพต่อคุณค่าของมันต่อเรา ซ่อมแซมและปฏิบัติด้วยการดูแล
เมื่อความยั่งยืนได้กลายเป็นจุดมุ่งของโลก มอตไทนาย ได้นำเสนอ
ทางเลือกสร้างกรอบการเชื่อมโยงของเราต่อโลก และวัตถุที่เรานำมาสู่
โลก ในขณะที่ความพยายามของความอย่างยั่งยืนมุ่งที่อนาคตของโลกเป็นตัวจูงใจ มอตไทนายได้มองอย่างใกล้ชิด ณ วัตถุตัวมันเอง ความเชื่อว่าถ้าเราใหัคุณค่าวัตถุตอนแรก เราไม่มีสาเหตุเพื่อของเสียเลย
พันธะระหว่างเจ้าของและวัตถุเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของวัฒนธรรม
ญี่ปุ่น สะท้อนภายในทุกสิ่งทุกอย่าง ตั้งแต่ศิลปะการซ่อมแซมสมัยเดิม
ของคินสึงิ ไปจนถึงมะริเอะ คอนโดะ ผู้มาเยี่ยมอาจจะเหลือบมองหม้อ
ที่ซ่อมอย่างละเอียดอ่อนระหว่างพิธีน้ำชา หรือสะดุดกับเทศกาลประจำปี
ของการขอบคุณต่อวัตถุที่ใช้ เมื่อวัตถุไม่สามารถใช้ได้ต่อไปอีกเเล้ว เรากล่าวอยู่เสมอ เอทสูคาเร ต่อมัน มันหมายความ ขอบคุณต่องานหนักของ
คุณ ตัวอย่างที่ดีคือ พิธีฮาริ คูโย ตรงที่เข็มเย็บผ้าชำรุดได้เกษียณ และวางมันภายใน ระหว่างความทรงจำที่เศร้าหมองขอบคุณต่อต่อการใช้
ของมัน
แต่กระนั้นภายในโลกของการผลิตจำนวนมากและบริโภคนิยม การ
เชื่อมโยงเหล่านี้ต่อวัตถุยากที่จะรักษา การแสดงความห่างมากขึ้นของ
เราจากสิ่งแวดล้อมที่เราอาศัยอยู่ บุคคลคิดว่าเราแยกออกมาจากป่าและ
และมหาสมุทร นั่นคือเราเหนือกว่าธรรมชาติ แต่วิกฤติทางสิ่งเเวดล้อม
ได้ปลุกความตระหนักของเราต่อความเป็นจริงที่เราเป็นส่วนหนึ่งของ
ธรรมชาติ
มันเป็นธรรมดาภายในญี่ปุ่นที่จะกล่าว โอะทซึคาเรสะมะ หมายถึงการขอบคุณต่องานหนักของคุณ ต่อวัตถุเมื่อมันไม่สามารถใช้ได้ต่อไปอีกแล้ว
ตัวอย่างที่ยิ่งใหญ่คือฮะริ คุโย : มวลเข็ม การจัดงานศพเข็มเย็ยผ้า งานเทศกาลประจำปีศาสนาพุทธและชินโตของญี่ปุ่น ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ์
และวันที่ 8 ธันวาคม ทุกปี เข็มเย็บผ้าชำรุดเก่า ได้ถูกนำไปยังวัดหรือ
ศาลเจ้าที่ใกล้ มันเป็นวันยกย่องตามประเพณีโดยผู้หญิง – ผู้เย็บกิโมโน ภายในญี่ปุ่น เป็นการรำลึกถึงเข็มเย็บผ้าชำรุดภายในการใช้งานระหว่างปีที่แล้ว พวกเธอใส่กิโมโนสมัยเดิม พวกเธอทำการสวดเพื่อปรับปรุงทักษะในฐานะของช่างเย็บ ฮะริ หมายถึง เข็มเย็บผ้า คุโยหมายถึง ความทรงจำ ผู้หญิงเหล่านี้ได้ “เกษียณ” อย่างเคร่งขรึม เข็มเย็บผัาเก่าและชำรุดของพวกเธอ วางมันภายในกล่องเต้าหู้ เริ่มต้นเมื่อสี่ร้อยปีที่แล้ว
ตอนเป็นเด็ก วังการี มาไท เรียนรู้จากยายของเธอว่าต้นมะเดื่อใหญใกล้บ้านครอบครัวของเธอภายในเคนยากลางศักดิ์สิทธ์ และไม่รบกวนและเธอจำได้้ว่าการรวบรวมน้ำตอนไหลทะลักคุ้มครองโดยรากของต้นไม้


ต่อมาเมื่อเธอกลับมาบ้านครอบครัวของเธอ เธอได้เริ่มต้นมองเห็นการ
เปลี่ยนแปลงภายในสิ่งแวดล้อม แหล่งต้นน้ำแห้ง การถางป่า การกลาย
เป็นทะเลทราย และการหายไปของกระเเสน้ำของความเป็นเด็กของเธอ
เธอได้รับฟังผู้หญิงภายในหมู่บ้านพูดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงนิเวศ และกลายเป็นเข้าใจการเชื่อมโยงระหว่างการเสื่อมลงทางสิ่งแวดล้อมและความต้องการที่รู้สึกของชุมชน เธอได้มองเห็นว่าต้นไม้เป็นจุดสำคัญที่จะเติมใหม่ดิน ให้การบำรุงเลี้ยง และคุ้มครองแหล่งน้ำ เธอกล่าวว่า รุ่นที่ทำลายสิ่งแวดล้อมไม่ได้เป็นรุ่นที่จ่ายราคา นั่นคือปัญหา
วังการี มาไท เจริญเติบโตภายในชุมชนเคนยาชนบท ประเทศที่ถูกหา
ประโยชน์โดยอาณานิคมนิยมอังกฤษ และตรงที่พื้นที่ไม้จำนวนมากถูก
ตัด เด็กหญิงน้อยได้เจริญเติบโตภายในสังคมที่ผู้ชายเท่านั้นสามารถ
ศึกษา และสเเวงหาอาชีพวิชาชีพ แต่เธอได้ทำลายบรรทัดฐาน และได้
ถูกส่งไปโรงเรียนโดยแม่ของเธอ
วังการี มาไท รักธรรมชาติ และศึกษามันตลอดชีวิตของเธอ เธอศึกษา
ชีววิทยา ได้รับปริญาเอกภายในอเมริกา เธอเป็นผู้หญิงคนแรกภายใน
อัฟริกาที่ได้ปริญญาเอก และมันทำให้เธอเป็นผู้บุกเบิกภายในการคุ้ม
ครองสิทธิผู้หญิง เมื่อ 1976 เธอได้เริ่มต้นพัฒนาความคิดของการปลูก
ต้นไม้ชุมชนของเธอ
วันนี้มอตไทนายเป็นการปฏิบัติที่ดีที่สุดของวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมเฉพาะของชาวญี่ปุ่น มอตไทไน เตือนใจเราว่าทรัพยาการภายในเม่ธรรมชาติจำกัด แนวคิดมอทไทไน ชี้ว่าเราไม่ควรจะโยนทิ้งอะไรก็ตามที่ยัง
คงมีคุณค่า และใช้ซ้ำมันด้วยวิถีทางปฏิบัติบางอย่าง ภายในญี่ปุ่น เรา
สามารถมองเห็นน้ำเสียใช้ซ้ำกดชักโครก เเละนิสัยรีไซเคิลได้ถูกปลูก
ฝังอย่างดีท่ามกลางชาวญี่ปุ่น เราสามารถพบร้านของเก่าหรือมือสอง
เพื่อผลิตภัณฑ์แตกต่างกัน เช่น เสื้อผ้า เพชร และกล้องถ่ายรูป หนังสิอ
หรือผลิตภัณฑ์อื่นได้ง่ายภายในญี่ปุ่น ผลิตภัณฑ์ใช้ซ้ำหลายอย่างมี
สภาพดีที่จะใช้ซ้ำหรือขายต่อ
มอตไทนายเป็นกรอบความคิดที่มีพลังมากสามารถช่วยเหลือเราสร้าง
สังคมรับผิดชอบทางสิ่งเเวดล้อม ทรัพยากรทุกอย่างบนโลกจำกัด และ
เราควรจะใช้มันภายในวิถีทางอย่างมีประสิทธิภาพและเคารพมากขึ้น
ก่อนการสั่งอาหารภายในร้านอาหาร โปรดคิดเราสามารถทานได้มาก
แค่ไหน ก่อนการตัดสินใจซื้อ โปรดคิดเราต้องการมันแท้จริงหรือไม่
ก่อนการโยนทิ้งบางสิ่งบางอย่าง โปรดพืจารณามันมีโอกาสใช้ซ้ำหรือ
ไม่ เราควรจะรับเอาวิถีชีวิตมอตไทไนภายในการดำรงชีวิตของเราเอง
เมื่อวังการี มาไทอยู่ภายในญี่ปุ่น เธอได้ถามเรามีแนวคิดของ ลด ใช้ซ้ำ
รีไซเคิล ภายในญี่ปุนหรือไม่ และเราได้บอกเธอเกี่ยวกับแนวคิดและ
วัฒนธรรมของมอตไทนาย เธอได้สนใจอย่างแท้จริงต่อมอตไทไน
แนวคิด 3 อาร์ เป็นแนวคิดญี่ปุนอย่างมาก แต่ความคิดของมอตไทไน
ได้รวมเอาความแตกต่างเล็กน้อยของอาร์ตัวที่สี่ด้วย นั่นคือความเคารพ
มอตไทนาย เป็นถ้อยคำศาสนาพุทธจากญี่ปุ่นหมายถึงความเคารพ
ต่อทรัพยากรรอบตัวเรา อย่าสูญเสียทรัพยากร และใช้มันด้วยความ
รู้สึกกตัญญู แนวคิดเชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดกับการปฏิบัติการรักษาที่
บุคคลรับรู้กันโดยทั่วไปมากที่สุดเป็น 3 อาร์ – ลด ใช้ซ้ำ รีไซเคิล ด้วย
อาร์ตัวที่สี่ เพื่อความเคารพ

วิถีทางของญี่ปุ่นต่อวัตถุอยู่บนกลางเวทีในขณะนี้ นับตั้งแต่ได้เปิดตัวของสารคดีชุดทีวีเนตฟลิกซ์ 2019 “Tidying Up with Marie Kondo” บุคคลทั่วโลกได้ถูกบันดาลใจที่จะถือสิ่งของแต่ละอย่างของพวกเขา และพิจราณาคำถามที่ง่าย มันจุดประกายความสุขหรือไม่ ถ้าคำตอบคือ ใช่ มันจะถูกพับและเก็บภายในสถานที่ที่เหมาะสม ถ้าไม่ มันจะถูกขอบคุณต่อ
บริการของมัน และปล่อยมันไป
มาริเอะ คอนโด ผู้หญิงชาวญี่ปุนมีชื่อเสียงในฐานะของผู้เชี่ยวชาญ
การทำความสะอาดและการจัดระเบียบบ้าน เธอเป็นผู้เขียนหนังสือ
“The Life Changing Magic of Tidying Up” ได้กล่าวว่า เรามีปรัชญาญี่ปุ่นรู้จักกันเป็นมอตไทนาย “มอตไทนาย” เป็นภาษาญี่ปุ่น หมายถึง
ความรู้สึก เสียใจต่อของเสีย หรือความสิ้นเปลือง
มาริเอะ คอนโดสนับสนุนเพื่อทำให้ของเสียน้อยที่สุดภายในชีวิต ความคิดคือว่าวัตถุอยู่ภายในชีวิตของคุณนานเท่าไร วัตถุที่คุณจะซื้อยิ่งน้อยลงตลอดเส้นทางของชีวิต มันเป็นวัฒนธรรมญี่ปุ่นอย่างหนึ่งที่ฉันได้รวมไว้กับชีวิตของฉัน
เราจะพับเสื้อผ้าโดยวิธีการของมาริเอะ คอนโด อย่่างไร เสื้อผ้าเป็น
การจัดระเบียบอย่างแรกของวิธีการของเธอเพื่อเหตุผลที่ดี เรามีชีวิต
อยู่กับมัน นั่นคือทำไมเราได้กระตุ้นบุคคลใส่อะไรที่จุดประกายความ
สุข และทำให้พวกเขารู้สึกดี และทำไมคุณควรจะพับและเก็บเสื้อผ้าที่
รักด้วยการดูแล
เมื่อมาริเอะ คอนโด ได้พิมพ์หนังสือของเธอ เธอได้แนะนำเทคนิค
สัญลักษณ์เพื่อการพับเสื้อผ้าที่ได้ปฏิรูปตู้เสื้อผ้านับไม่ถ้วน มาริเอะ
คอนโด มองวิธีการของเธอมากกว่าสิ่งนั้นมาก ด้วยการพับเสื้อผ้าอย่างปราณีต และวางมันแนวตั้ง ไม่ใช่วางมันซ้อนกัน หรือยิ่งเเย่กองมันบน
เก้าอี้ คุณจะป้องกันย่นยูยี่ ประหยัดพื้นที่ และเเสดงความรู้สึกขอบคุณ
ต่อทุกชิ้นที่จุดประกายความสุข
การอยู่ด้วยวิถีชีวิตอย่างยั่งยืนสามารถเป็นความท้าทายภายในโลกที่
วุ่นวายของวันนี้ ฉันคิดว่าสิ่งแรกที่จะมุ่งมั่นคือการมีชีวิตอยู่่อย่างมีสติ
ตู้เย็นที่เต็มเกินไปไม่ได้ทำให้เรามองเห็นและชื่นชมอะไรที่เรามีภายใน
มันด้วยการปล่อยให้ตู้เย็นว่างเปล่า 30% คุณจะจำกัดของเสียอาหารจาก
อาหารที่หมดอายุที่คุณลืมได้

ตอนเช้าของวันที่ 8 มกราคม ค.ศ 1999 กลุ่มผู้หญิงเดินไปที่ป่าคารูรา
ป่าชนบทที่รักษาไว้ภายในไนโรบี เคนยา ปลูกต้นไม้ ณ เวลานั้น การ
กระทำของการปลูกต้นไม้ โดยเฉพาะผู้หญิง ได้กลายเป็นการกระทำ
ของการต่อต้านทางการเมือง นำโดยผู้หญิงชื่อ วังการี มาไท รู้จักกัน
อย่างกว้างขวางเป็นมารดาแห่งต้นไม้
การแสดงกำลัง ณ ป่าคารูรา เป็นการสะสมของการต่อสู้ของวังการี
มาไทนับตั้งแต่ ค.ศ 1970 เพื่อความยุติธรรมทางสิ่งเเวดล้อม การต่อสู้
ที่เธอเรียกว่า กรีน เบลท์ มูฟเม้นต์ ชื่อมาจาก “เเนวพื้นที่” ของต้นไม้สี
เขียวหลายล้่านต้นปลูกทั่วทั่งเคนยา และประเทศอัฟริกันอื่น
ขบวนการได้เริ่มต้นบนวันคุ้มครองโลกเมื่อ ค.ศ 1977 เมื่อวังการี มาไท ได้ปลูกต้นไม้เจ็ดต้นให้เกียรติแก่ผู้นำชุมชนในอดีต มันได้นำไปสู่กรีน
เบลท์ มูฟเม้นต์ ภายในเคนยา ปลูกต้นไม้บนที่ดินถูกทำลายป่า ผู้หญิง
ได้ถูกกระตุ้นและสนับสนุนปลูกโรงเพาะต้นไม้ทั่วทั้งประเทศ
เมื่อ ค.ศ 2004 วังการี มาไท ได้รางวัลโนเบลสันติภาพต่อการสร้างกรีน
เบลท์ มูฟเม้นต์ ขบานการได้แพร่กระจายไปยังหลายประเทศอัฟริกัน
ปลูกต้นไม้มากกว่า 30 ล้านต้น


วังการ มาไท เสียชีวืตเมื่อ ค.ศ 2011 ด้วยมะเร็งรังไข่ อายุ 71 ปี มารดาแห่งต้นไม้ เธอได้ทุมเทชีวิตของเธอส่งเสริมสิ่งแวดล้อมและประชาธิปไตย เธอมักจะแสดงความห่วงใยเกี่ยวกับความยากจนภายในอัฟริกา เธอยืนยันว่าชาวอัฟริกันไม่สามารถรับภาระที่จะมีพื้นที่ ตรงที่บุคคลไม่กี่คนร่ำรวยอย่างเลวทราม และบุคคลจำนวนมากยากจนลดความเป็นมนุษย์ลง
เธอได้ก่อตั้งกรีน เบลท์ มูฟเม้นต์ ปลูกต้นไม้ทั่วทั้งเคนยากำจัดความยกจน และยุติความขัดแย้ง เธอถูกขับเคลื่อนด้วยการเชื่อมโยงการลดคุณค่าทางสิ่งแวดล้อมและความยากจนและความขัดเเย้ง บุคคลยากจนตัดต้นไม้ต้นสุดท้ายทำอาหารมื้อสุดท้าย คุณยื่งลดคุณค่าสิ่งแวดล้อมมากเท่าไร คุณยิ่งขุดความยากจนลึกลงไปมากขึ้นเท่านั้น
เธอได้ระดมชาวเคนยา โดยเฉพาะผู้หญืงปลูกต้นไม้มากกว่า 30 ล้านต้น และบันดาลใจสหประชาชาติเปิดตัวการรณรงค์นำไปสู่การปลูกต้นไม้ 11 พันล้านต้นทั่วโลก ชาวเคนยามากกว่า 900,000 คน ได้ประโยชน์จากการรณรงค์ปลูกต้นไม้ของเธอด้วยการขายต้นกล้าเพื่อการฟื้นฟูป่าใหม่
วังการรี มาไท รับรู้ว่าความเป็นผู้นำทางการเมืองอย่างมุ่งหมายสามารถบรรลุการเปลี่ยนแปลงทางสังคมทางบวกได้ ดังนั้นต้นไม้ได้กลายเป็นสัญลักษณ์เพื่อการต่อสู้ทางประชาธิปไตยภายในเคนยา เธอได้จัดตั้งการประท้วงต่อประธานาธิบดีก่อนหน้านี้ ดาเนียล อารฺป มอย เรียกเธอด้วยความโกรธว่าเธอเป็นผู้หญืงบ้า และกิจกรรมของเธอเป็นการล้มล้าง เมื่อ ค.ศ 1992 ในขณะที่การประท้วงการจัดสรรที่ดินของประธานาธิบดีต่อเพื่อนสนิทของเขา เธอถูดตีโดยอันธพาลและตำรวจ เธอยังคงใจกล้าอยู่
เมื่อเราปลูกต้นไม้ เราปลูกเมล็ดของสันติภาพและความหวัง มันเป็นสิ่งเล็กน้อยที่บุคคลทำอย่างนั้นจะสร้างความแตกต่าง สิ่งเล็กน้อยของฉันคือ การปลูกต้นไม้ วังการี มาไท กล่าว
วังการี มาไทได้บันดาลใจการริเริ่มต้นไม้หลายอย่างไปทั่วโลกรวมทั้งการรณรงค์ต้นไม้พันล้านต้นยูเอ็น และการปลูกเพื่อโลก ขบวนการปลูกต้นไม้นำไปสู่เด็กและบุคคลวัยหนุ่มสาว และแน่นอน ชุมชนเล็กภายในลอนดอนเรียกว่า ทอตแนม ทรีย์ ผู้ก่อตั้งทอตแนม ทรีย์ มาร์กาเรต เบอร์ กล่าวว่า ฉันถูกบันดาลใจโดยความเชื่อภายในการปลูกต้นไม้ของวังการี ทาไน
โดยเฉพาะภายในสิ่งแวดล้อมตรงที่ชุมชนรับรู้ความสำคัญของมัน ไม่ใช่เพียงแค่ปลูกด้วยจำนวน แต่ปลูกที่จะยกระดับ ยกย่อง และปรับปรุงชีวิต
ทอตแนม ทรีย์ เป็นส่วนหนึ่งของขบวนการโลกที่จะคุ้มครองมรดกธรรมชาติของเราด้วย แรงบันดาลใจเพื่อทอตแนม ทรีย์ เป็นวังการี ทานาย นักเคลื่อนไหวสิ่งแวดล้อมที่ปลูกต้นไม้เจ็ดต้นให้เกียรติผู้นำชุมชนบนวันสิ่งแวดล้อมโลกเมื่อ ค.ศ 1977 นี่ได้นำไปสู่กรีน เบลท์ มูฟเม้นต์ ภายในเคนยา
ตลอด ค.ศ 2016 ทอตแนม ทรีย์ ได้รวบรวมเรื่องราวต้นไม้จากชาวเมือง
ทอตเเนม ช่วยเหลือสร้างหลักการของกฏบัตรเพื่อต้นไม้ ไม้ และบุคคล
– กฏบัตรต้นไม้ และเรามั่นใจว่าเราพูดกับบุคคลจากทุกภูมิหลัง และเป็น
ส่วนหนึ่งของชุมชนของเราเกี่ยวกับต้นไม้อะไรหมายถึงต่อพวกเขา ดังนั้น
เมื่อ ค.ศ 2018 เราได้เสนอทอตแนม โอค 500 ปี เพื่อต้นไม้แห่งปีของอังกฤษ โลโก้ของทอตเเนม ทรีย์ แสดงภาพเงาของบรูซ เเคสเซิล โอค ด้วยโลโกของกฏบัตรเพื่อต้นไม้ ไม้ และบุคคล
ภายในทอตแนมต้นไม้เจ็ดต้นได้ถูกปลูกเป็นวงกลมนานกว่า 400 ปีที่แล้วด้วยเหตุผลที่หายไปตามเวลา พื้นที่เซเวน ซิสเตอร์ และสถานีใต้ดินได้ถูกเรียกชื่อตามมัน ต้นไม้เจ็ดต้นได้ปลูกทดแทนซ้ำแล้วซ้ำอีกโดยเจ็ดสาวน้อยของทอตแนมอยู่เสมอ ดังนั้นเป็นย่านที่รู้จักกันเป็นเซเวน ซิสเตอร์

Cr : รศ สมยศ นาวีการ

Facebook Comments

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *